โครงการกักเก็บพลังงานลมอัด ผลิตไฟฟ้าได้ปีละ 300 เมกะวัตต์

“การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานลม ต้องพึ่งพาพลังงานจากธรรมชาติ ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ กฟผ.จึงได้ดำเนินโครงการพัฒนาเสถียรภาพในการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมขึ้น โดยนำระบบ Wind Hydrogen Hybrid System ขนาดกำลังผลิต 300 กิโลวัตต์ มาเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บพลังงานไฟฟ้าจากกังหันลมในรูปแบบของก๊าซไฮโดรเจน เมื่อนำเข้าใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิง หรือ Fuel Cell ก๊าซไฮโดรเจนจะทำปฏิกิริยาเคมีกับออกซิเจนและเกิดเป็นพลังงานไฟฟ้าได้โดยไม่ต้องผ่านการเผาไหม้ ซึ่งระบบดังกล่าวถือเป็นเทคโนโลยีใหม่ในการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสามารถนำพลังงานไฟฟ้าที่กักเก็บในรูปแบบของก๊าซไฮโดรเจนมาใช้งานได้อย่างสม่ำเสมอตลอดวัน ทั้งนี้ ประเทศไทยจะเป็นประเทศแรกในทวีปเอเชียที่นำระบบการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าจากกังหันลม Wind Hydrogen Hybrid System มาใช้ในการผลิตไฟฟ้าร่วมกับเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยมีกิจการค้าร่วม ไฮโดรเจนิกส์ ยุโรป เอ็น.วี. และบริษัท พระราม 2 การโยธา จำกัด เป็นผู้จัดหาอุปกรณ์และก่อสร้างจนแล้วเสร็จ รวมมูลค่าการก่อสร้าง 234.5 ล้านบาท โดยมีกำหนดแล้วเสร็จในเดือนกันยายน 2560 และในอนาคต กฟผ.

เอดีบีปล่อยกู้โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมที่ใช้ระบบกักเก็บพลังงาน

กรุงเทพฯ ประเทศไทย ( 18 พฤษภาคม 2563) - ธนาคารพัฒนาเอเชีย หรือ เอดีบี ได้ลงนามสัญญาเงินกู้จำนวน 235.55 ล้านบาท ( หรือ เทียบเท่า 7.2 ล้านเหรียญสหรัฐ) ให้กับบริษัท

GULF คว้าโครงการผลิตไฟฟ้า

กัลฟ์ฯ ฉลุยคว้ากว่า 20 โครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนแบบ FiT ปี 2565-2573 คาดคิดเป็นปริมาณการขายไฟฟ้ารวม 2 พันเมกะวัตต์จากทั้งหมด 4,852.26 เมกะวัตต์

รู้จักแผน PDP 2024 แผนพัฒนากำลังการ

เมื่อช่วงกลางเดือน มิ.ย. 67 ที่ผ่านมา ก็ได้มีการเปิดแผน PDP 2024 จากกระทรวงพลังงานออกมา โดยมีกำลังการผลิตไฟฟ้าใหม่และระบบกักเก็บพลังงานในช่วงปี 2567

"ลมลิกอร์" โรงไฟฟ้าพลังงานลม

สำหรับโครงการลมลิกอร์จะมีส่วนช่วยเพิ่มกำลังการผลิตไฟฟ้าที่มาจากพลังงานหมุนเวียนให้แก่ระบบไฟฟ้าภายในประเทศอย่างน้อย

กฟผ. เดินหน้าลุยพัฒนาเทคโนโลยี

ที่ปัจจุบันมีโครงการนำร่อง 3 แห่ง ได้แก่ สถานีไฟฟ้าแรงสูงบำเหน็จณรงค์ จ.ชัยภูมิ จำนวน 16 เมกะวัตต์ สถานีไฟฟ้าแรงสูงชัยบาดาล จ.ลพบุรี จำนวน 21 เม

กกพ.กำหนดรับซื้อไฟฟ้าสีเขียว

2.พลังงานลม เปิดรับซื้อไฟฟ้ารวม 1,500 เมกะวัตต์ โดยจะเปิดรับตั้งแต่ปี 2568-2573 จำนวนปีละ 250 เมกะวัตต์ 3.พลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินร่วมกับ

ผู้ผลิตไฟฟ้าร้องศาลปกครอง

ผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนกว่า 10 ราย ร้องศาลปกครอง สั่ง กกพ.ยุติโครงการรับซื้อไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนอัตราคงที่ 5,203 เมกะวัตต์ ในรูปแบบ "Feed-in

ม.เกษตรฯ ถก SMR ชี้เพื่อนบ้านแซง

อย่างไรก็ตาม ตามร่างแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ (PDP) ได้กำหนดให้มีโรงไฟฟ้า SMR ปี 2580 ไว้ 2 โรง แห่งละ 300 เมกะวัตต์ เพื่อตอบโจทย์ Energy Mix และความเป็น

พลังงานแสงอาทิตย์แบบรวมความ

พลังงานแสงอาทิตย์แบบรวมความเข้มข้น (CSP) ในฐานะที่เป็นโรงไฟฟ้าที่ผลิตพลังงานความร้อน จึงมีความคล้ายคลึงกับโรงไฟฟ้าความร้อนประเภทอื่นๆ เช่น

โรงไฟฟ้าเก็บพลังงานก๊าซอัด

โครงการสาธิตโรงไฟฟ้าเก็บพลังงานก๊าซอัดขนาด 300 เมกะวัตต์ในหูเป่ย หยิงเฉิง สามารถเชื่อมต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าได้สำเร็จเป็นครั้งแรก สร้างสถิติ

"บีซีพีจี" อัด 5 หมื่นล้าน ลุย

ขณะที่ฟิลิปปินส์ พัฒนาโครงการพลังานลมอยู่แล้ว และรัฐบาลมีเป้าหมายที่จะเปิดรับซื้อไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนอีกราว 11,000 เมกะวัตต์ เป็นโอกาสที่

กฟผ. เดินหน้าไม่หยุด พัฒนา

ในส่วนของระบบกักเก็บพลังงาน โครงการ Victorian Big Battery ที่ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท Neoen ร่วมกับ Tesla และ AusNet Services นับเป็นหนึ่งในโครงการกักเก็บพลังงานด้วยแบตเตอรี่ที่ใหญ่ที่สุดในโลกขนาด 300

โรงไฟฟ้าพลังงานลม | Gunkul Engineering

พลังงานลมเป็นหนึ่งในเสาหลักอันยาวนานของการเดินทางด้านพลังงานทดแทนในประเทศไทย และจุดเริ่มต้นของบริษัทบนเส้นทางพลังงานทดแทนที่ส่งผลต่อ

ระบบกักเก็บพลังงานในไทย

พลังงานที่สูญเปล่าจากส่วนเกินของการผลิตไฟฟ้าจะสามารถนำมากักเก็บใน ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System)

News : กฟผ.สร้างโรงไฟฟ้าเซลล์

สำหรับโครงการกังหันลมผลิตไฟฟ้าลำตะคอง ระยะที่ 2 นั้น มีกำลังผลิตรวม 24 เมกะวัตต์ กำลังผลิตกังหันลมต้นละ 2 เมกะวัตต์ จำนวน 12 ต้น ซึ่งจะอยู่ใน

#GCNTCLIMATE: โครงการลมลิกอร์ โรงไฟฟ้า

ซึ่งโครงการนี้เป็นโครงการนำร่องภาคเอกชนรายแรกในประเทศไทยที่นำ "ระบบกักเก็บพลังงาน" (Energy Storage System) มาใช้เพื่อทำให้ระบบโครงข่ายไฟฟ้ามีเสถียรภาพมากขึ้น ระบบกักเก็บพลังงาน ขนาด

"กกพ." ลุยรับซื้อไฟฟ้าพลังงาน

พลังงานลม เปิดรับซื้อไฟฟ้ารวม 1,500 เมกะวัตต์ จะเปิดรับตั้งแต่ปี 2568-2573 จำนวนปีละ 250 เมกะวัตต์ 3.พลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้น

กฟผ.ลุยพัฒนาเทคโนโลยี

กฟผ.ชวนสื่อมวลชนอัปเดตนวัตกรรมพลังงานสะอาด เรียนรู้เทคโนโลยีไฮโดรเจน ระบบกักเก็บพลังงานที่ใหญ่ที่สุดในโลก ณ ประเทศออสเตรเลีย พร้อมสร้าง

"ระบบกักเก็บพลังงาน" กุญแจปลด

ระบบกักเก็บพลังงานด้วยแบตเตอรี่ (Battery Energy Storage System : BESS) เป็นการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้า โดยการติดตั้งระบบกักเก็บพลังงานเพื่อลดปัญหาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่ไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างสม่ำเสมอ

กฟผ.เดินหน้าไม่หยุด พัฒนา

โดยกักเก็บพลังงานไฟฟ้าจากกังหันลมในรูปของก๊าซไฮโดรเจน (Wind Hydrogen Hybrid System) จับคู่กับเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell) กำลังผลิต 300 กิโลวัตต์ เปลี่ยนไฮโดรเจนเป็น

สาธิตการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

วางแนวทางใหม่สำหรับอุตสาหกรรมการกักเก็บพลังงานและเร่งการสาธิตและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานในระบบไฟฟ้า (1)

กฟผ.เอาจริง!! นำร่องระบบกักเก็บ

สนองนโยบายสร้างความมั่นคงทางพลังงานของภาครัฐ ลงนาม 2 สัญญา พัฒนากังหันลม 12 ต้น กำลังผลิตรวม 24 เมกะวัตต์ บนพื้นที่โรงไฟฟ้าลำตะคองพร้อมนำระบบ Win Hydrogen Hybrid

กฟผ.เอาจริง!! นำร่องระบบกักเก็บ

กฟผ. สนองนโยบายสร้างความมั่นคงทางพลังงานของภาครัฐ ลงนาม 2 สัญญา พัฒนากังหันลม 12 ต้น กำลังผลิตรวม 24 เมกะวัตต์ บนพื้นที่โรงไฟฟ้าลำตะคองพร้อมนำ

กระทรวงพลังงาน เผยแผนดัน

ปลัดกระทรวงพลังงาน เผยแผนพลังงานชาติ เพิ่มสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 50% ของกำลังการผลิตไฟฟ้าใหม่ ผลิตไฟฟ้ากว่าหมื่นเมกะวัตต์

"เอ็กโก กรุ๊ป" กับเป้าหมาย Net Zero

Line นายเทพรัตน์ เทพพิทักษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป กล่าวถึงการดำเนินธุรกิจของเอ็กโก กรุ๊ป ที่ผลิต

การผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสาน HYBRID WIND+SOLAR+ESS

ตัวอย่างเช่น ปริมาณไฟฟ้าที่จำหน่าย 50 เมกะวัตต์ โดยผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม 60% และจากพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์อีก 40% ระบบกักเก็บ

จับตา GULF-GUNKUL วิ่งคึก! หลังฮุบ 2,500 MW

จับตา GULF-GUNKUL วิ่งคึก! หลังฮุบ 2,500 MW ดันกำไรเพิ่มปีละ 6 พันล้าน "กัลฟ์-กันกุล" ชนะประมูลขายไฟฟ้าทดแทน 44 โครงการ ร่วม 2,500 MW พร้อมประมูลรอบสองเพิ่มอีก 3,600

กฟผ. เดินหน้าไม่หยุด พัฒนา

ในส่วนของระบบกักเก็บพลังงาน โครงการ Victorian Big Battery ที่ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท Neoen ร่วมกับ Tesla และ AusNet Services นับเป็นหนึ่งในโครงการกักเก็บพลังงานด้วย

กฟผ. ดูความก้าวหน้าโรงไฟฟ้า

กฟผ.ดูความก้าวหน้าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ SMR ไห่หนาน ตัวอย่างเกาะพลังงานสะอาดปี2030 Line กระแสและแนวโน้มของโลกกดดันให้ทั่วโลกหันมาร่วมมือเพื่อลดโลก

โรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับ = ระบบกักเก็บพลังงาน กลับเขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ กำลังผลิต 800 เมกะวัตต์ มีแผน

ก.พลังงานเปิดแผน PDP 2024 มีกำลัง

ก.พลังงานเปิดประชาพิจารณ์ PDP 2024 และ Gas Plan 2024 ระบุแผน PDP 2024 มีกำลังการผลิตไฟฟ้าใหม่และระบบกักเก็บพลังงานรวม 60,208 เมกะวัตต์ โดยเป็นพลังงานหมุนเวียน 34,851

ระบบกักเก็บพลังงานในไทย

ท้ายที่สุดแล้วในปี ค.ศ. 2020 และอนาคตอันใกล้นี้จะมีโครงการระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) เกิดขึ้นใหม่อีกหลายโครงการ และจะเติบโตอย่างรวดเร็วใน

ความคิดเห็นลูกค้าเกี่ยวกับระบบพลังงานมัลติโซลาร์สำหรับสถานีโทรคมนาคม

  1. ตอบกลับ

    ณัฐพล สุขสวัสดิ์

    15 พฤษภาคม 2025 เวลา 09:20 น.

    การปรับใช้ระบบพลังงานมัลติโซลาร์จาก EK ENERGY สำหรับเครือข่ายสถานีโทรคมนาคมของเราเป็นความสำเร็จอย่างมาก ระบบจัดเก็บพลังงานแบบอัจฉริยะช่วยให้สถานีโทรคมนาคมในพื้นที่ห่างไกลสามารถทำงานอย่างต่อเนื่องแม้ในช่วงเวลาที่แสงอาทิตย์ไม่เพียงพอ ความเชี่ยวชาญทางเทคนิคของทีม EK ENERGY ในเรื่องการออกแบบและติดตั้งระบบมัลติพลังงานทำให้เราได้รับประสิทธิภาพสูงจากระบบทั้งหมด

  2. ตอบกลับ

    ธนกร ศักดิ์สิทธิ์

    20 พฤษภาคม 2025 เวลา 14:45 น.

    การใช้งานระบบพลังงานมัลติโซลาร์สำหรับสถานีโทรคมนาคมระดับพร้อมใช้จาก EK ENERGY เป็นความคิดที่ชาญฉลาดสำหรับธุรกิจของเรา ระบบจัดเก็บพลังงานที่มีความปลอดภัยสูงและมีความมั่นคงดีทำให้สถานีโทรคมนาคมของเราสามารถทำงานอย่างต่อเนื่องแม้ในสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย อีกทั้งการติดตั้งและปรับใช้ระบบได้อย่างรวดเร็วเป็นข้อดีอีกประการหนึ่งของบริษัท EK ENERGY

  3. ตอบกลับ

    วรรณพงษ์ ชัยวัฒน์

    25 พฤษภาคม 2025 เวลา 11:30 น.

    เราสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของสถานีโทรคมนาคมหลายแห่งของเราได้อย่างมีนัยสำคัญหลังจากปรับใช้ระบบพลังงานมัลติโซลาร์จาก EK ENERGY ระบบที่ออกแบบมาสำหรับสภาพภูมิภาคต่างๆ ช่วยให้สถานีโทรคมนาคมของเราสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงและมั่นใจได้ตลอดเวลา ทีมงาน EK ENERGY ยังให้การสนับสนุนด้านเทคนิคอย่างดีทำให้เราสามารถใช้ระบบได้อย่างเต็มความสามารถ

© Copyright © 2025. EK ENERGY สงวนลิขสิทธิ์ทั้งหมด ผังเว็บไซต์