โครงการก่อสร้างระบบกักเก็บพลังงานข้างโครงข่ายไฟฟ้า

ภาณุมาศ ลิ้มสุวรรณ รองผู้ว่าการวางแผนและพัฒนาระบบไฟฟ้า กล่าวว่า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ภายใต้การกำกับดูแลของ กระทรวงมหาดไทย มีภารกิจหลัก ในการจัดหา ให้บริการพลังงานไฟฟ้า เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้เกิดความพึงพอใจทั้งด้านคุณภาพและบริการ โดยมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นั้น ได้มุ่งมั่นให้บริการพลังงานไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ เชื่อถือได้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน อีกทั้งนำเทคโนโลยีด้านระบบกักเก็บพลังงานมาใช้ในโครงข่ายไฟฟ้าเพื่อแก้ปัญหาระบบไฟฟ้า ดังนั้น สายงานวางแผนและพัฒนาระบบไฟฟ้า จึงได้พิจารณา นำระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ (Battery Energy Storage System: BESS) มานำร่องแก้ปัญหาระบบไฟฟ้าในพื้นที่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เนื่องด้วยพื้นที่ดังกล่าว ตั้งอยู่บนพื้นที่ที่มีมีลักษณะภูมิประเทศล้อมรอบด้วยเนินเขาและภูเขาสูงชันของอุทยานแห่งชาติศรีลานนา โดยมีพื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1-3 ล้อมรอบ ดังนั้น การพัฒนาระบบไฟฟ้าในพื้นที่ด้วยวิธีการปักเสา พาดสายจึงทำได้ยาก และก่อนดำเนินการจำเป็นต้องจัดทำรายงานศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIA) ให้เรียบร้อย ซึ่งจะต้องใช้เวลานาน และ พื้นที่อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ มักจะเกิดปัญหาเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้ามาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นกระแสไฟฟ้าขัดข้อง ไฟตก ไฟดับ อีกทั้งยังมีแนวโน้มของปัญหาที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูฝนจะมีปัญหาเกิดขึ้นบ่อยครั้ง (ความถี่ของเหตุการณ์ไฟฟ้าดับโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 96 ครั้ง/ปี, ระยะเวลาไฟฟ้าดับรวมโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 2,943 นาที/ปี)

"ระบบกักเก็บพลังงาน" กุญแจปลด

ระบบกักเก็บพลังงานด้วยแบตเตอรี่ (Battery Energy Storage System : BESS) เป็นการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้า โดยการติดตั้งระบบกักเก็บพลังงานเพื่อลดปัญหาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่ไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างสม่ำเสมอ

เมกะโปรเจกต์ ''ตึกสูงกัก

ชวนรู้จัก โครงการก่อสร้างอาคารสูง 1,000 เมตร ใช้เทคโนโลยีกักเก็บพลังงานด้วย "กราวิเทติก" ที่บริษัท Energy Vault ประกาศร่วมมือกับบริษัทวิศวกรรมจากสหรัฐ

โรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับ เป็นระบบกักเก็บพลังงานประเภทหนึ่งที่มีต้นทุนการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยต่ำ

''ระบบกักเก็บพลังงาน'' ตัวช่วย

ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ (Battery Energy Storage System : BESS) เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีความมั่นคง ปลอดภัย และเชื่อถือได้ ด้วยการนำแบตเตอรี่มาเป็นส่วนหนึ่ง

กฟผ. ลุยพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้า

กฟผ. นำคณะสื่อมวลชนตามติดนวัตกรรมระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า และเยี่ยมชมศูนย์ควบคุมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ณ ประเทศสเปนและโปรตุเกส

กฟผ.ชู ''BESS'' ระบบกักเก็บพลังงาน

โครงการสมาร์ทกริดฯ จ.แม่ฮ่องสอน ติดตั้งแบตเตอรี่กำลังไฟฟ้า 5 เมกะวัตต์ ทำงานร่วมกับระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ พร้อมด้วยระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid)

กฟภ. ร่วมมือ เอเออี และ โคลท์

ล่าสุดทาง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) จึงร่วมกับ บริษัท เอเออี เอ็นจิเนียริ่ง (ไทยแลนด์) จำกัด (AAE) ผู้ก่อสร้างงานโครงสร้าง งานระบบไฟฟ้า เครื่องกล รวมทั้งเป็นผู้เชี่ยวชาญทั้งในงาน ออกแบบ ติดตั้งระบบ HVAC ในทุกๆ กลุ่มอุตสาหกรรม

ทำความรู้จักกับระบบกักเก็บ

ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System: ESS) คือ ระบบ อุปกรณ์ วิธีการ หรือเทคโนโลยีที่ใช้ในการกักเก็บพลังงานไฟฟ้า ซึ่งแนวคิดของระบบกักเก็บพลังงานนี้

"เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน

เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานเป็นหนึ่งในทางเลือกการบริหารจัดการภาระต้นทุนการต่อเชื่อมกับสายส่ง (Grid connection costs) จากไฟฟ้าที่ได้จากการผลิตไฟฟ้า

รายงานความคืบหน้าการด าเนิน

รายงานผลการด าเนินงานตามแผนขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านสมาร์ทกริดของประเทศไทย ในระยะสั้น ประจ าปี พ.ศ. 2563 หน้า 2 เสาหลักที่ 3 ระบบโครงข่ายไฟฟ้า

PEA จับมือ GPSC เพื่อพัฒนาโครงการ

PEA จับมือ GPSC แลกเปลี่ยนความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการเกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านระบบกักเก็บพลังงานด้วยแบตเตอรี่ เพื่อมาใช้ในโครงข่ายระบบไฟฟ้าของ PEA

กฟผ. เดินหน้าไม่หยุด พัฒนา

ในส่วนของระบบกักเก็บพลังงาน โครงการ Victorian Big Battery ที่ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท Neoen ร่วมกับ Tesla และ AusNet Services นับเป็นหนึ่งในโครงการกักเก็บพลังงานด้วย

ต้นแบบโครงข่ายพลังงานไฟฟ้า

ผลงานวิจัย 1. Smart Micro Grid (ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์) สำหรับบริหารจัดการไฟฟ้าในโครงข่ายฯ พร้อมทั้งแพลตฟอร์มตลาดกลางซื้อขายพลังงานไฟฟ้า (ETP) 1 แห่ง ที่มี

เปิดเส้นทางสู่ความล ้าสมัยของ

พัฒนาระบบ Remote Monitor & Control เพื่อให้สามารถ ตรวจสอบ และควบคุมการเดินเครื่องแบบ Unmanned Control

สมาร์ทกริด(Smart Grid) ระบบโครงข่าย

สถานะด าเนินการโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ของ กฟภ.9 รายชื่อโครงการภายใต้เสาหลักที่ 1 การตอบสนองด้านโหลดและระบบบริหารจัดการพลังงาน

หนุน "Smart Grid" ด้วย "Smart Energy" ชูโซลาร์

ปัจจุบัน โครงการนำร่องการพัฒนาสมาร์ทกริดที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เตรียมพัฒนาสู่แผนพัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะของประเทศไทยในระยะกลาง พ.ศ.

การกักเก็บพลังงาน | ระบบ | Eaton

ในระบบกักเก็บพลังงานด้วยแบตเตอรี่ (BESS) ทั่วไป ระบบแปลงไฟ (PCS) จะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อระหว่างองค์ประกอบของระบบกักเก็บพลังาน ซึ่ง

ESS แผนระบบกักเก็บพลังงาน

ESS แผนระบบกักเก็บ พลังงาน DIGITAL PLATFORM แผนดิจิตอลแพลตฟอร์ม ปัจจุบันยังไม่อนุญาตให้ผู้ใช้ไฟฟ้า และโครงข่ายไฟฟ้าส่วนกลางซื้อ

PMCU Solar Carpark ลานจอดรถพลังงานสะอาด

ซึ่งความร่วมมือในการพัฒนาและติดตั้งโครงการ "PMCU Solar Carpark" ในครั้งนี้ จึงถือเป็นการแสดงศักยภาพในการพัฒนาองค์กรแบบมืออาชีพใน

ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าหัวใจ

จรินทร์ หาลาภี วิศวกรไฟฟ้า 9 ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรมระบบไฟฟ้าการไฟฟ้านครหลวง กล่าวว่า ปัจจุบันเราได้ประยุกต์ใช้ระบบกักเก็บพลังงานในโครงข่าย

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็ก (Microgrid

ระบบไมโครกริดระดับสายป้อน (Full Feeder Microgrids) เป็นระบบที่มีระบบผลิตไฟฟ้าแบบกระจายศูนย์ และระบบกักเก็บพลังงานได้มากกว่า 1 ระบบ ภายในระบบไมโครกริด

Energy Storage System ระบบกักเก็บพลังงาน

ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) คืออะไร มีอะไรบ้าง แล้วแต่ละเทคโนโลยีมีข้อดีข้อเสียอย่างไร GMS Solar มีคำตอบ แหล่งพลังงานสะอาดจากธรรมชาติ ไม่ว่าจะ

เสาหลักที่ 3: ระบบไมโครกริดและ

การติดตั้งระบบกักเก็บพลังงาน ส่วนต่อยอดโครงการพัฒนาระบบไฟฟ้าแบบโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (ระบบไมโครกริด) ที่ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน

BESS ระบบกักเก็บพลังงานด้วย

ได้นำระบบกักเก็บพลังงาน BESS มาใช้ควบคู่กับ โรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับลำตะคองชลภาวัฒนา จ.นครราชสีมา และล่าสุด "โครงการโซลาร์เซลล์ลอยน้ำ

เส้นทางความยั่งยืน "EGCO Group

เห็นได้จากเป้าหมายของ APEX ในปลายปี 2567 – 2568 ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างโครงการพลังงานหมุนเวียนทั้งหมด 8 โครงการ กำลังผลิตสุทธิรวมเกือบ 1,300 เมกะ

โครงการตัวอย่าง

แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP) แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) อภิธานศัพท์

PEA ร่วมมือ GPSC พัฒนาโครงการ

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) มีแผนร่วมมือกับกลุ่มผู้นำธุรกิจ Energy Storage ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อร่วมศึกษาและพัฒนาโครงการเกี่ยวกับเทคโนโลยี

''กฟผ.'' ลงทุนโรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบ

"กฟผ." ทุ่ม 9 หมื่นล้านบาท ลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับกว่า 2,472 เมกะวัตต์ ใน 3 โครงการ รับแผน PDP 2024 ต้นทุนผลิตไฟสะอาดเฉลี่ย 2 บาท ลดการ

โรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับ

กฟผ. เดินหน้า เสริมระบบกักเก็บพลังงาน ปัจจุบัน กฟผ. มีโรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับ 3 แห่ง ได้แก่ 1) เขื่อนศรีนครินทร์ เครื่องที่ 4 และ 5 จังหวัด

กฟผ. เดินหน้าไม่หยุด พัฒนา

ชวนสื่อมวลชนอัพเดทนวัตกรรมพลังงานสะอาด เรียนรู้เทคโนโลยีไฮโดรเจน ระบบกักเก็บพลังงานที่ใหญ่ที่สุดในออสเตรเลีย พร้อมสร้างความมั่นคงระบบไฟฟ้า

ความคิดเห็นลูกค้าเกี่ยวกับระบบพลังงานมัลติโซลาร์สำหรับสถานีโทรคมนาคม

  1. ตอบกลับ

    ณัฐพล สุขสวัสดิ์

    15 พฤษภาคม 2025 เวลา 09:20 น.

    การปรับใช้ระบบพลังงานมัลติโซลาร์จาก EK ENERGY สำหรับเครือข่ายสถานีโทรคมนาคมของเราเป็นความสำเร็จอย่างมาก ระบบจัดเก็บพลังงานแบบอัจฉริยะช่วยให้สถานีโทรคมนาคมในพื้นที่ห่างไกลสามารถทำงานอย่างต่อเนื่องแม้ในช่วงเวลาที่แสงอาทิตย์ไม่เพียงพอ ความเชี่ยวชาญทางเทคนิคของทีม EK ENERGY ในเรื่องการออกแบบและติดตั้งระบบมัลติพลังงานทำให้เราได้รับประสิทธิภาพสูงจากระบบทั้งหมด

  2. ตอบกลับ

    ธนกร ศักดิ์สิทธิ์

    20 พฤษภาคม 2025 เวลา 14:45 น.

    การใช้งานระบบพลังงานมัลติโซลาร์สำหรับสถานีโทรคมนาคมระดับพร้อมใช้จาก EK ENERGY เป็นความคิดที่ชาญฉลาดสำหรับธุรกิจของเรา ระบบจัดเก็บพลังงานที่มีความปลอดภัยสูงและมีความมั่นคงดีทำให้สถานีโทรคมนาคมของเราสามารถทำงานอย่างต่อเนื่องแม้ในสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย อีกทั้งการติดตั้งและปรับใช้ระบบได้อย่างรวดเร็วเป็นข้อดีอีกประการหนึ่งของบริษัท EK ENERGY

  3. ตอบกลับ

    วรรณพงษ์ ชัยวัฒน์

    25 พฤษภาคม 2025 เวลา 11:30 น.

    เราสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของสถานีโทรคมนาคมหลายแห่งของเราได้อย่างมีนัยสำคัญหลังจากปรับใช้ระบบพลังงานมัลติโซลาร์จาก EK ENERGY ระบบที่ออกแบบมาสำหรับสภาพภูมิภาคต่างๆ ช่วยให้สถานีโทรคมนาคมของเราสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงและมั่นใจได้ตลอดเวลา ทีมงาน EK ENERGY ยังให้การสนับสนุนด้านเทคนิคอย่างดีทำให้เราสามารถใช้ระบบได้อย่างเต็มความสามารถ

© Copyright © 2025. EK ENERGY สงวนลิขสิทธิ์ทั้งหมด ผังเว็บไซต์