ระบบควบคุมการติดตามแสงอาทิตย์โดยใช้ PLC

บทความนี้นำเสนอเทคนิคใหม่ของระบบติดตามแสงอาทิตย์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำมาก แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่เชื่อมต่อกับลูกลอยจะเคลื่อนที่ตามแสงอาทิตย์ด้วยการปรับสมดุลระดับน้ำ ซึ่งใช้ปั๊มน้ำฉีดกระจกรถยนต์ขนาด 12 โวลต์ สำหรับการปรับระดับน้ำ ควบคุมการทำงานทั้งหมดด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ โดยรับค่าการตรวจจับแสงผ่านตัวต้านทานเปลี่ยนค่าตามแสง (LDR) และเปรียบเทียบกับแรงดันอ้างอิง ดังนั้นระดับน้ำที่เปลี่ยนแปลงจะสัมพันธ์กับการตั้งฉากกับทิศทางแสงอาทิตย์ ซึ่งจะทำให้ลูกลอยผลักดันแผงให้เคลื่อนที่ตามทิศทางของแสงอาทิตย์ได้อย่างถูกต้อง ระบบที่นำเสนอนี้ สามารถควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ได้ 2 แกน คือ แกนทิศเหนือกับทิศใต้ และแกนทิศตะวันออกกับทิศตะวันตก ผลการทดสอบเปรียบเทียบค่ากำลังไฟฟ้าที่ได้รับจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ 1 แผง ที่ติดตั้งระบบติดตามแสงอาทิตย์ที่นำเสนอและแบบติดตั้งอยู่กับที่ พบว่า แผงที่มีระบบติดตามแสงอาทิตย์ ให้ค่ากำลังไฟฟ้าเฉลี่ยมากกว่าแผงที่ติดตั้งอยู่กับที่ 7.91 วัตต์ หรือสูงกว่าร้อยละ 37.63 และผลการทดสอบการใช้งานเซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้ระบบติดตามแสงอาทิตย์ที่นำเสนอ เป็นระยะเวลา 5 วัน ๆ ละ 12 ชั่วโมง พบว่า เมื่อใช้เซลล์แสงอาทิตย์ 1 แผง ได้รับพลังงานไฟฟ้า 347.16 วัตต์-ชั่วโมงต่อวัน ใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบควบคุม 0.66 วัตต์-ชั่วโมงต่อวัน ส่วนการใช้เซลล์แสงอาทิตย์ 3 แผง ได้รับพลังงานไฟฟ้า 1,212.84 วัตต์-ชั่วโมงต่อวัน และใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบควบคุม 1.76 วัตต์-ชั่วโมงต่อวัน ผลการเปรียบเทียบการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบควบคุมการติดตามแสงอาทิตย์ เมื่อใช้เซลล์แสงอาทิตย์ 1 แผง ระหว่างระบบควบคุมที่นำเสนอและระบบที่ใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง พบว่า ระบบติดตามแสงอาทิตย์ที่ใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ใช้พลังงานไฟฟ้า 10.8 วัตต์-ชั่วโมงต่อวัน คิดเป็นพลังงานสูญเสียร้อยละ 1.147 ส่วนระบบควบคุมที่นำเสนอใช้พลังงานไฟฟ้า 0.66 วัตต์-ชั่วโมงต่อวัน คิดเป็นพลังงานที่สูญเสียร้อยละ 0.19 ซึ่งต่ำกว่าระบบที่ใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงร้อยละ 0.958 ดังนั้นระบบควบคุมการติดตามแสงอาทิตย์ที่นำเสนอนี้ สามารถลดพลังงานไฟฟ้าที่สูญเสียได้จริง

What is plc?

Plc. Private limited company, bet priimu ir Vidmanto variantą. Galima būtų ir neversti. Login or register (free and only takes a few minutes) to participate in this question. You will also have access to many other tools and opportunities designed for those who have language-related jobs (or are passionate about them).

How to understand the basic scheme of a PLC?

#1 How does a PLC work?
youtube.com
Who invented plc?

Elsevier. Programmable Logic Controllers (PLCs) were invented by the American Richard (‘Dick’) Morley in 1969, to be used in the manufacture of cars. Prior to that date production lines had been controlled by a mass of hard-wired relays.

How do you program a PLC?

There are different ways to program a PLC. The “ladder logic” was the first programming language for PLC, as it mimics the real-life circuits. Afterwards there were 5 programming languages defined for PLCs. Unity Pro is software that you have to use if you want to control most of the Schneider PLCs. Where do you find systems on the Internet?

ระบบติดตามแสงอาทิตย์แบบสอง

บทความนี้นำเสนอเทคนิคใหม่ของระบบติดตามแสงอาทิตย์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำมาก แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่เชื่อมต่อกับลูกลอยจะเคลื่อนที่ตามแสงอาทิตย์ด้วยการปรับสมดุลระดับน้ำ

การเชื่อมต่อข้อมูลอย่าง

ระบบทั่วไปประกอบด้วยแผง 144 ชิ้น โดยแต่ละชุดแผงใช้ระบบติดตามแกนคู่ที่ควบคุมโดย Allen-Bradley® Micro800TM PLC เพื่อติดตามดวงอาทิตย์แบบไดนามิกเพื่อช่วยให้

ระบบติดตามแสงอาทิตย์แบบสอง

ระบบติดตามแสงอาทิตย์ทีนําเสนอและแบบติดตังอยู่กับที พบว่า แผงทีมีระบบติดตามแสงอาทิตย์ ให้ค่ากําลังไฟฟ้า

ระบบติดตามแสงอาทิตย์แบบสอง

บทคัดย่อ บทความนี้นำเสนอเทคนิคใหม่ของระบบติดตามแสงอาทิตย์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำมาก แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่เชื่อมต่อกับลูกลอยจะเคลื่อนที่

เครื่องติดตามและควบคุมการ

โครงงานนี้เป็นการสร้างเครื่องติดตามและควบคุมการเคลื่อนที่ของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 120 วัตต์ 12 โวลต์ โดยมีจุดมุ่งหมาย

The Sun Tracking System Using a CPLD-based Position

This research presents the 2 axes sun tracking system which are altitude and azimuth. The system uses the shade blocking of a screen that has the phototransistor as a

การควบคุมอุณหภูมิและระบบการ

ขจรศักดิ์ พงศ์ธนา,ชัยวัฒน์ สากุล.(2562).โรงเรือนแบบไฮโดรโปนิกส์ที่มีระบบการควบคุมแบบอัตโนมัติโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์.วารสารราชมงคลกรุงเทพ,12(3),65-77.

ระบบควบคุมอัตโนมัติในงาน IoT

การตรวจจับและป้องกันการบุกรุก (Intrusion Detection and Prevention): การตรวจจับและป้องกันการบุกรุกเป็นวิธีการสำคัญในการปกป้องระบบ IoT ให้ปลอดภัย โดยใช้เทคโนโลยี

หลักการสำคัญของ MPPT Solar Controller คือ

นี่คืออินเวอร์เตอร์พลังงานแสงอาทิตย์แบบมัลติฟังก์ชันที่ผสานรวมตัวควบคุมการชาร์จพลังงานแสงอาทิตย์ MPPT อินเวอร์เตอร์คลื่นไซน์บริสุทธิ์

ระบบรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติโดย

ชุดรดน้ำอัตโนมัติด้วย Arduino เป็นต้นแบบให้น้องได้ศึกษาระบบ Smart Farm พื้นฐาน นำไปพัฒนาต่อในอนาคต โดยใช้ Arduino Uno R3 สามารถนำไปพัฒนาใน งาน IOT หรือจะพัฒนาใน

ระบบติดตามแสงอาทิตย์แบบสอง

ระบบติดตามแสงอาทิตย์ทีนําเสนอและแบบติดตังอยู่กับที พบว่า แผงทีมีระบบ ควบคุม และส่วนของโปรแกรมคําสังควบคุม โดยการ

การศึกษาระบบควบคุมอัตโนมัติ

4.3 PLC ที่ใช้ในการควบคุมการท างานของตู้ควบคุมในระบบบบ าบัดน ้าเสีย 62 4.4 ช่องส าหรับติดตั ้ง Cartridges Card จะอยู่ในต าแหน ่งของวงกลมสีเขียว 64

ระบบควบคุมแสงสว่าง DALI เบื้องต้น

DALI2 เป็นรุ่นล่าสุดของโปรโตคอล DALI ตามมาตรฐาน IEC 62386 ซึ่งเป็นรุ่นที่ได้รับการปรับโครงสร้างใหม่ในปี 2014 เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งานและการพัฒนา และยัง

ระบบจ าลองแผงเซลล์แสงอาทิตย์ส

2. ออกแบบและสร้างระบบจ าลองส าหรับการออกแบบและการ ติดต้ังระบบแผงเซลล์แสงอาทิตย์โดยสามารถพิจารณาผลกระทบของ

ระบบติดตามแสงอาทิตย์แบบสอง

Authors สิทธิชัย จีนะวงษ์ น่านนที กัลยา เสาวลักษณ์ ชัยยืน Abstract บทความนี้นำเสนอเทคนิคใหม่ของระบบติดตามแสงอาทิตย์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำมาก แผงเซลล์

การเชื่อมต่อข้อมูลอย่าง

ระบบทั่วไปประกอบด้วยแผง 144 ชิ้น โดยแต่ละชุดแผงใช้ระบบติดตามแกนคู่ที่ควบคุมโดย Allen-Bradley® Micro800TM PLC

การประยุกต์ใช้ระบบควบคุมแผง

3.1 ขั้นตอนการออกแบบระบบควบคุมแผงเซลล แสงอาทิ ตยให เคลื่ี่ตามดวงอาทอนท ิ ตย โดยใช ตัวควบคุ วยวงจรตมด ิจิตอล 26

Solar tracking systems โซล่าเซลล์หมุนตามแสง

ระบบโซล่าเซลล์ด้วยเทคโนโลยี Solar Tracking ที่ช่วยให้แผงโซล่าเซลล์สามารถหมุนตามทิศทางแสงอาทิตย์ได้อย่างแม่นยำ ช่วยเพิ่ม

PLC คืออะไร ? พามาทำความรู้จัก

PLC (Programmable Logic Controller) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมกระบวนการทางอุตสาหกรรมแบบอัตโนมัติ โดยสามารถโปรแกรมให้ทำงานตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ได้ มีบทบาทสำคัญ

การพัฒนาระบบติดตามดวงอาทิตย์

Title การพัฒนาระบบติดตามดวงอาทิตย์ Publication Type วิทยานิพนธ์/Thesis Year of

การพัฒนาระบบติดตามการ

หลักการของการรวมแสงอาทิตย์ด้วยจานรูปทรงพาราโบลา ซึ่งจำาเป็นต้องมีระบบติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์

การติดตามจุดก าลังสูงสุดของ

การติดตามจุดก าลังสูงสุดของแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบแปรผันขนาดก้าว ตาราง 5 ระยะเวลาที่ใช้ในการติดตามจุดก

ระบบควบคุมโซลาร์ตามตะวันแบบ DIY

งานวิจัย นี?นําเสนอการพัฒนาระบบโซลาร์ตามตะวันหลายรูปแบบ โดยใช้การสร้างชุดแผงโซลาร์เซลล์ทีมีขนาดแตกต่างกัน3ชุด ชุดควบคุม

โซล่าเซลล์หมุนตามแสงอาทิตย์

Solar Tracking นวัตกรรมของคนไทย ที่สามารถเพื่อรายได้ จากพลังงานไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นถีง 40% Catalogue สนใจ Solar tracking โซล่าเซลล์หมุนตามแสงอาทิตย์ ติดต่อได้ทาง

ระบบควบคุมการส่องสว่าง – LIGMAN

การหรี่แสงสว่างด้วยสัญญาณกระแสไฟฟ้าแบบ 0-10 V เป็นการควบคุมความเข้มของแสงโดยการปรับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC) ที่มีในตัวโคมไฟส่องสว่าง ซึ่งอยู่

ก รสร้ งและห ประสิทธิภ พเครื่อง

แสงอาทิตย์ควบคุมด้วย PLC โดยเปรียบเทียบการติดตั้งระบบแผงเซลล์แสงอาทิตย์ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 สร้างระบบแผงเซลล์แสง

ระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy

Building Energy Management System : BEMS เป็นระบบการจัดการพลังงานที่ช่วยในการควบคุม และติดตามระบบพลังงานภายในอาคาร เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบไฟแสงสว่าง เป็นต้น โดยจะ

ระบบควบคุมการชาร์จแบตเตอรี่

แผงเซลล์แสงอาทิตย์, ระบบการตรวจสอบและควบคุม Abstract This paper presents the research and development of a solar panel battery charging control system using MPPT algorithm To be efficient in energy transfer and have the least loss in the system

พื้นฐาน PLC: ทำความเข้าใจตัว

ความแตกต่างที่ชัดเจนระหว่าง PLC กับระบบควบคุม สามารถเปลี่ยนส่วนประกอบได้โดยไม่ต้องหยุดระบบ การใช้เทคนิคที่ทนทาน

ความคิดเห็นลูกค้าเกี่ยวกับระบบพลังงานมัลติโซลาร์สำหรับสถานีโทรคมนาคม

  1. ตอบกลับ

    ณัฐพล สุขสวัสดิ์

    15 พฤษภาคม 2025 เวลา 09:20 น.

    การปรับใช้ระบบพลังงานมัลติโซลาร์จาก EK ENERGY สำหรับเครือข่ายสถานีโทรคมนาคมของเราเป็นความสำเร็จอย่างมาก ระบบจัดเก็บพลังงานแบบอัจฉริยะช่วยให้สถานีโทรคมนาคมในพื้นที่ห่างไกลสามารถทำงานอย่างต่อเนื่องแม้ในช่วงเวลาที่แสงอาทิตย์ไม่เพียงพอ ความเชี่ยวชาญทางเทคนิคของทีม EK ENERGY ในเรื่องการออกแบบและติดตั้งระบบมัลติพลังงานทำให้เราได้รับประสิทธิภาพสูงจากระบบทั้งหมด

  2. ตอบกลับ

    ธนกร ศักดิ์สิทธิ์

    20 พฤษภาคม 2025 เวลา 14:45 น.

    การใช้งานระบบพลังงานมัลติโซลาร์สำหรับสถานีโทรคมนาคมระดับพร้อมใช้จาก EK ENERGY เป็นความคิดที่ชาญฉลาดสำหรับธุรกิจของเรา ระบบจัดเก็บพลังงานที่มีความปลอดภัยสูงและมีความมั่นคงดีทำให้สถานีโทรคมนาคมของเราสามารถทำงานอย่างต่อเนื่องแม้ในสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย อีกทั้งการติดตั้งและปรับใช้ระบบได้อย่างรวดเร็วเป็นข้อดีอีกประการหนึ่งของบริษัท EK ENERGY

  3. ตอบกลับ

    วรรณพงษ์ ชัยวัฒน์

    25 พฤษภาคม 2025 เวลา 11:30 น.

    เราสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของสถานีโทรคมนาคมหลายแห่งของเราได้อย่างมีนัยสำคัญหลังจากปรับใช้ระบบพลังงานมัลติโซลาร์จาก EK ENERGY ระบบที่ออกแบบมาสำหรับสภาพภูมิภาคต่างๆ ช่วยให้สถานีโทรคมนาคมของเราสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงและมั่นใจได้ตลอดเวลา ทีมงาน EK ENERGY ยังให้การสนับสนุนด้านเทคนิคอย่างดีทำให้เราสามารถใช้ระบบได้อย่างเต็มความสามารถ

© Copyright © 2025. EK ENERGY สงวนลิขสิทธิ์ทั้งหมด ผังเว็บไซต์